75 Liberty กับอนาคตของ Learjet

ในช่วงต้นทศวรรษ 1960 เครื่องบิน Learjet 23 ได้สร้างปฏิวัติธุรกิจเครื่องบินพาณิชย์ ในฐานะเครื่องบินไลท์เจ็ตระดับภูมิภาคลำแรกของโลก Learjet 23 ลำนี้มีลำตัวที่เพรียวบาง ถังเชื้อเพลิงที่ขอบนอกของปีก และความเร็วสูงสุดที่ 561 ไมล์ต่อชั่วโมง ทำให้เครื่องบินลำนี้มีเชื่อเสียงและเป็นที่นิยม “หากมีชื่อหนึ่งที่ต้องเล่าเรื่องธุรกิจเครื่องบินเจ็ท หนังเรื่องนั้นจะต้องชื่อ Learjet" Rolland Vincent ประธานบริษัทที่ปรึกษาด้านการบินจาก Rolland Vincent Associates กล่าว “รากฐานของแบรนด์แข็งแกร่งมาก ฉันรู้จักเจ้าของเครื่องบินหลายคนที่เรียกเครื่องบินของตัวเองว่า Learjet แม้ว่าจะสร้างจากบริษัทอื่นก็ตาม"

แต่ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา Learjet ต้องเผชิญกับความวุ่นวายที่ไม่คาดคิด บริษัทแม่ Bombardier ลงทุน 1.4 พันล้านดอลลาร์เพื่อพัฒนา Learjet 85 โดยมีเป้าหมายเพื่อให้เป็นอนาคตของแบรนด์ แต่โครงการนี้ถูกบังคับให้ปิดตัวลงในปี 2558 เนื่องจากต้องต่อสู้กับปัญหาทางการเงินที่ใหญ่กว่า นั่นทำให้แพลตฟอร์ม Learjet 70 และ 75 ที่เหลืออยู่ (ทั้งสองลำมีพื้นฐานมากจาก Learjet 45 และ 45XR รุ่นก่อนหน้า) มาพร้อมกับการอัพเกรด รวมถึงปีก canted winglets อัตราการไต่ความเร็วของ เครื่องยนต์ได้รับการปรับปรุง และมาพร้อมกับห้องนักบินของ Bombardier Vision แต่ Learjet ก็ยังต้องเผชิญกับการแข่งขันที่ดุเดือด จากทั้ง Embraer และ Textron ที่ทั้ง 2 บริษัทำได้เปิดตัวเครื่องบินรุ่นใหม่ที่มีราคาต่ำกว่า Learjet 75 ราคา 13.8 ล้านเหรียญสหรัฐ อยู่ประมาณ 5 ล้านเหรียญ และขณะนี้โรงงานใน Wichita ผลิต Learjet ออกมาเพียงหนึ่งลำต่อเดือน

Learjet 75 Liberty เริ่มให้บริการในปี 2563 ด้วยราคา 9.9 ล้านเหรียญสหรัฐ เพื่อพลิกโฉมกลุ่มเครื่องบินไลต์เจ็ตและซูเปอร์ไลต์ โดยนำเสนอด้วยตัวเครื่องและห้องโดยสารขนาดกลาง และดำเนินด้วยต้นทุนเท่ากับเครื่องบินเจ็ตขนาดเล็กกว่า “The Liberty มาด้วยคอนเซปต์ที่มากับความเร็วและพิสัยการบินที่ดีที่สุดในบรรดาเครื่องบินประเภทไลต์เจ็ต" Louise Solomita โฆษกของ Bombardier กล่าว “ด้วยโครงสร้างแบบ 6 ที่นั่ง มีห้องสวีทสำหรับแบบเฟิร์สคลาส โดยที่ผู้โดยสารสามารถยืดตัวนอนได้"

Learjet เปลี่ยน Learjet 75 ขนาดกลางให้เป็นเครื่องบิน super-light-jet 75 Liberty โดยคงตัวโครงเครื่องบินและเครื่องยนต์เอาไว้ แต่ถอดชุดเบาะที่นั่ง APU Unit ไฟส่องเน้นภายนอก และอ่างล้างหน้าออก (สามารถเลือกเสริมแยกได้) “นี่เป็นกลยุทธ์ใหม่ที่เราคิดขึ้นมาโดยการเอาอำนวยความสะดวกออกไป" Brian Foley นักยุทธศาสตร์ด้านอุตสาหกรรมการบินกล่าว เขาเองยังเชื่ออีกว่า Learjet กำลังจะเจอกับปัญหา เพราะนอกจากโครงการ Learjet 85 ที่ถูกยกเลิกแล้ว ตลาดสำหรับเครื่องบินไอพ่นขนาดกลางและไลต์เจ็ตยังไม่ถึงจุดสูงสุดเลย แม้แต่ก่อนจะเกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอยครั้งใหญ่ก็ตาม ยังไม่รับรวมถึงว่าคำสั่งซื้อเครื่องบินเจ็ตที่คาดว่าจะลดลงอีก 40 เปอร์เซ็นต์ในปี 2563 เมื่อเทียบกับปีก่อนหน้าเนื่องมาจากสถานการณ์โควิด-19

อย่างไรก็ตาม 75 Liberty ยังมีจุดขายอีกมากมาย นอกจากราคาที่ค่อนข้างต่ำและต้นทุนที่ใช้สำหรับการผลิตที่ไม่ได้สูง เครื่องบินเจ็ทลำนี้ยังมี flight deck ที่ได้รับการปรับปรุงแล้วอีกด้วย และ 75 Liberty ยังได้รับการสนับสนุนจาก Bombardier ผู้ผลิตเครื่องบินขนาดกลาง และเครื่องบินระยะไกลระดับโลก ธุรกิจเครื่องบินเจ็ตส่วนตัวของ Bombardier มีมูลค่าถึง 7 พันล้านดอลลาร์ และในถึงขณะนี้ บริษัทยักษ์ใหญ่ของแคนาดายังยืนหนุนหลัง Learjet ซึ่งเป็นแผนกเครื่องบินที่เล็กที่สุดของบริษัทอีกด้วย

Vincent เล่าถึงความกังวลของ Foley เกี่ยวกับอนาคตของ Learjet โดยเฉพาะถ้ามีเครื่องบินใหม่ล้นในตลาด “ในส่วนนี้ยังมีกำลังการผลิตส่วนเกินอีกมาก" เขากล่าว พร้อมเสริมว่าเขายังคงเป็น “แฟนตัวยง" ของแบรนด์ “เพราะแบรนด์เข้าสู่งช่วงเปลี่ยนผ่านทั้งขึ้นและล่องมาแล้วหลายครั้ง" – M.V.

In the early 1960s, the Learjet 23 created a revolution in business aviation. As the world’s first light regional jet, the 23 had a svelte military fuselage, wing-tip fuel tanks and a top speed of 561 mph, giving it instant cult status. “If there’s one name associated with business jets, it’s Learjet," says Rolland Vincent, president of aviation consulting firm Rolland Vincent Associates. “The brand equity is so strong I know many owners who call their aircraft a Learjet, even if it’s built by another manufacturer."

Yet in the last decade, Learjet has experienced unexpected turbulence. Parent company Bombardier invested $1.4 billion to develop the Learjet 85 with the goal of positioning it as the future of the brand, but was forced to jettison the project in 2015 as it struggled with larger financial issues. That left the Learjet 70 and 75 platforms; based on the previous-generation Learjet 45 and 45XR, the aircraft came with many positive upgrades, including canted winglets, faster climb rates, tweaked engines and the Bombardier Vision cockpit. But Learjet has seen fierce competition, notably from Embraer and Textron, both of which rolled out newer models priced some $5 million less than the $13.8 million 75. Learjet is now producing just one aircraft per month at its Wichita facility.

Enter the Learjet 75 Liberty, scheduled to begin service in 2020. At $9.9 million, it’s priced to disrupt the light- and super-light-jet segments, offering a midsize airframe and cabin but with the operating costs of smaller light jets. “The Liberty offers the best speed and range of any aircraft in the light-jet segment," says Bombardier spokesperson Louise Solomita. “With its six-seat configuration, it features the segment’s first executive suite, where passengers can stretch out."

Learjet converted the midsize Learjet 75 into the super-light-jet 75 Liberty by retaining the airframe and engines while removing seats, the auxiliary power unit, the external accent lights and the lavatory sink (all available as options). “It’s an odd strategy when you refresh a product by taking amenities out of it," says Brian Foley, an aviation industry strategist. Foley believes Learjet is struggling because, in addition to the aborted Learjet 85 program, the market for midsize and light jets is nowhere near its peak before the Great Recession. Not to mention that orders for business jets are expected to drop 40 percent in 2020 compared to year before, thanks to Covid-19.

Still, the 75 Liberty has many selling points: Aside from its lower price and competitive operating costs, the jet also features an updated flight deck. And it’s backed by Bombardier, manufacturer of the popular Challenger super-midsize and Global ultra-long-range lines. Bombardier’s total private-jet business is valued around $7 billion, and so far, the Canadian giant has stood behind Learjet, its smallest aircraft division.

Vincent shares Foley’s concerns about Learjet’s future, especially with a glut of new aircraft on the market. “There’s still a lot of excess capacity," he says, adding that he remains a “big fan" of the brand: “It’s gone through hell and back several times." – M.V.

 

 

Share on

Published 13th February 2024
×